Back to Top
สงครามสถานภาพ: เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ
เหตุใด "เยอรมนี" ชาติที่ยุทธศาสตร์ทางทะเลไม่สำคัญเท่ากับยุทธศาสตร์ทางบก กลับต้องการสร้างกองเรือรบแข่งขันกับมหาอำนาจทางทะเลที่พระอาทิตย์ไม่ตกดินอย่างอังกฤษ เหตุใด "ญี่ปุ่น" ชาติตะวันออกที่เคยถูกปรามาสจากชาติตะวันตกว่าไร้ความศิวิไลซ์ ถึงหาญกล้าทำสงครามกับจักรวรรดิรัสเซีย ที่มีกองทัพอันเกรียงไกรของพระเจ้าซาร์ เหตุใด "ไทย" ชาติเล็ก ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงกล้าเปิดฉากโจมตีและเป็นปฏิปักษ์กับจักรวรรดิฝรั่งเศสในดินแดนอินโดจีน
หนังสือ "สงครามสถานภาพ : เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ" เล่มนี้ เขียนขึ้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของ "ความกังวลด้านสถานภาพ" ของรัฐในการเมืองระหว่างประเทศ ที่หลายครั้งนำไปสู่สงคราม โดยที่ปัจจัยด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ และอำนาจ ไม่อาจใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์และค้นหาสาเหตุ แห่งความขัดแย้งได้อย่างครบถ้วนกระบวนความ...
หนังสือ "สงครามสถานภาพ : เยอรมนี ญี่ปุ่น และไทย กับการเถลิงอำนาจในการเมืองระหว่างประเทศ" เล่มนี้ เขียนขึ้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของ "ความกังวลด้านสถานภาพ" ของรัฐในการเมืองระหว่างประเทศ ที่หลายครั้งนำไปสู่สงคราม โดยที่ปัจจัยด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ และอำนาจ ไม่อาจใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์และค้นหาสาเหตุ แห่งความขัดแย้งได้อย่างครบถ้วนกระบวนความ...
นักเขียน | พีระ เจริญวัฒนนุกูล |
---|---|
สำนักพิมพ์ | สำนักพิมพ์ศยาม |
จำนวนหน้า | 352 |
เนื้อในพิมพ์ | ขาวดำ |
กว้าง | 143 mm. |
สูง | 210 mm. |
ปีที่ออก | 2566 |
เขียนบทวิจารณ์ของคุณเอง