จินตทรรศน์จากปัตตานี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในกระแสการเปลี่ยนแปลง

รวมบทความคัดสรรจากคณาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตปัตตานี) ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี การก่อตั้งคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประกอบไปด้วย บทนำเรื่อง การศึกษาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จากปัตตานี /ณภัค เสรีรักษ์ และ รชฎ สาตราวุธ, วอลแตร์: บิดาแห่งการปฏิวัติฝรั่งเศสหรือบิดาแห่งสิทธิมนุษยชน /อุบลวรรณ โชติวิสิทธิ์, ลักษณะต่อต้านจักรวรรดินิยมในเรื่องแต่งของจอร์จ ออร์เวลล์ /สุรัยยา สุไลมาน, โลกทัศน์และพลังทางสุนทรียะในวรรณกรรมไทย พ.ศ.2520-2547 /ดวงมน จิตร์จำนงค์, ปาตานีผ่านแว่นของจักรวรรดิและดวงตาสมัยใหม่ : การสำรวจทางมานุษยวิทยาของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในรัฐมลายูของสยาม ค.ศ.1899–1900 /พุทธพล มงคลวรวรรณ, กระบวนการบูรณาการรัฐชาติไทยกรณีจังหวัดชายแดนใต้ : บทเรียนจากระบบเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 6 / พรรณงาม เง่าธรรมสาร, เปลี่ยน ‘ป่าดิบ’ ให้เป็น ‘บ้าน’: ชุมชนในฝัน ณ ทัณฑนิคมธารโต พ.ศ.2478-2500 /ภมรี สุรเกียรติ, การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของบ้านทิวสน ระหว่างปี ค.ศ.1950-1990 /ระวีวรรณ ชอุ่มพฤกษ์, ชุมชนมุสลิมกับการเปลี่ยนแปลง /วัฒนา สุกัณศีล
เขียนบทวิจารณ์ของคุณเอง
คุณกำลังวิจารณ์:จินตทรรศน์จากปัตตานี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในกระแสการเปลี่ยนแปลง
คะแนนของคุณ
Back to Top