Back to Top
ประติมากรรมบุคคลในศิลปะอินเดีย : พัฒนาการเครื่องแต่งกายตั้งแต่พุทธศตวรรณที่ 3-18
"ประติมากรรมบุคคลในศิลปะอินเดีย: พัฒนาการเครื่องแต่งกายตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 3-18"
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี
การศึกษาเครื่องแต่งกายของประติมากรรมในศิลปะอินเดีย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 3-18 มีความสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างความเข้าใจถึงพัฒนาการด้านรูปแบบของประติมากรรม ในแต่ละยุคสมัยและในแต่ละพื้นที่ ทำให้เข้าใจความซับซ้อนในการออกแบบของช่าง รวมถึงยังทำให้กำหนดอายุประติมากรรมโดยวิธีทางประวัติศาสตร์ศิลปะได้
นอกจากนี้ ความเข้าใจเรื่องเครื่องแต่งกายของประติมากรรมบุคคลในศิลปะอินเดีย ยังทำให้เข้าใจประติมากรรมในเอเชียอาคเนย์ได้ ไม่ว่าจะเป็นศิลปะชวาภาคกลาง ศิลปะขอมก่อนเมืองพระนคร ศิลปะทวารวดี ศิลปะศรีวิชัย ศิลปะจาม และศิลปะศรีเกษตร-พุกาม
นักเขียน | ศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี |
---|---|
จำนวนหน้า | 376 |
เนื้อในพิมพ์ | สี่สีและขาวดำ |
กว้าง | 165 |
สูง | 240 |
ปีที่ออก | 2566 |
เขียนบทวิจารณ์ของคุณเอง