Back to Top
ประวัติศาสตร์สมัยรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒
..พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำลักษณะเฉพาะของลัทธิชาตินิยมมาใช้สร้างความเป็นไทย ทรงตระหนักว่าจำเป็นต้องรับความเจริญจากตะวันตก แต่เนื้อในของคนไทยจะต้องเป็นไทยอยู่...พระองค์ทรงเห็นว่า หากละทิ้งความเป็นไทยก็เท่ากับนำประเทศกลับไปสู่สมัยบ้านป่าเมืองดอย คนไทยจะกลายเป็นคนป่าที่ไม่มีประวัติศาสตร์..
..ก่อนเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทรงจำกัดพระราชอำนาจของพระองค์ และพระราชทานอำนาจนั้นแก่ราษฎรในการปกครองประเทศ โดยจัดในรูปแบบเทศบาลขึ้นก่อนเพื่อเป็นฐานก้าวไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในโอกาสภายหน้า..
..ช่วงก่อนเกิดวิกฤตต้มยำกุ้ง เศรษฐกิจภายในประเทศเติบโตอย่างสูง แต่ไม่ใช่ความเติบโตอย่างแท้จริงและยั่งยืน มีการสร้างความต้องการเทียมมาหลอกให้เข้าใจว่าเศรษฐกิจโต...แต่ทุกอย่างล้วนลวงตาเหมือนฟองสบู่ เมื่อเศรษฐกิจโตจนถึงขีดสุดถึงจุดอิ่มตัวก็ดิ่งลงจนสุด...เศรษฐกิจล่มกลายเป็นเหมือนฟองสบู่แตก ภาพที่เคยลวงตาก็ปรากฏเป็นภาพจริง--
โตจนถึงขีดสุด ถึงจุดอิ่มตัวก็ดิ่งลงจนสุด จากฐานที่แข็งแรง เศรษฐกจิก็ล่ม
กลายเป็นเหมือนฟองสบู่แตก ภาพที่เคยลวงตาก็ปรากฏเป็นภาพจริง
นักเขียน | รองศาสตราจารย์ ดร. วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ |
---|---|
สำนักพิมพ์ | สำนักพิมพ์สารคดี |
จำนวนหน้า | 300 |
เนื้อในพิมพ์ | สีและขาวดำ |
กว้าง | 178 mm. |
สูง | 240 mm. |
ปีที่ออก | 2566 |
เขียนบทวิจารณ์ของคุณเอง